รวมภาพบรรยากาศ การเลือกใช้คาร์ซีทอย่างถูกวิธี ณ โรงเรียนเลิศหล้า

คุณอรุณศรี พิริยเลิศศักดิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เบบี้ กิ๊ฟ (ไทยแลนด์) จำกัด ได้รับเกียรติเชิญให้เป็นวิทยากรให้ความรู้แก่บุคลลากรทางการศึกษา จำนวน 70 ท่าน ภายใต้ชื่อ “ความจำเป็นของคาร์ซีทและการเลือกใช้คาร์ซีทอย่างไรให้ถูกวิธี” ณ โรงเรียนเลิศหล้า ทั้งนี้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้คาร์ซีทอย่างถูกวิธี เพื่อให้บุคลลากรทางการศึกษาได้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความจำเป็นของคาร์ซีท และสามารถนำมาปรับใช้กับนักเรียนในโรงเรียนได้ เพื่อให้สอดคล้องกับการบังคับใช้คาร์ซีทสำหรับเด็กอายุไม่เกิน 6 ปี ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก ที่จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 5 กันยายน 2565 นี้

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00

บทความแนะนำ

เมื่อต้องพาเจ้าตัวน้อยเดินทางไกลขึ้นเครื่องบินครั้งแรก คุณแม่หลายท่านมักมีคำถามมากมาย เพื่อให้ทุกท่านเตรียมตัวเดินทางได้อย่างสนุกสนานพร้อมรถเข็นคันโปรดคู่ใจ Baby Gift ได้รวบรวมทุกคำตอบไว้ในที่เดียวจบ 1.รถเข็นแบบไหนสามารถนำขึ้นเครื่องบินได้บ้าง จำเป็นต้องพับเล็กๆ หรือมีข้อกำหนดเกี่ยวกับขนาดและน้ำหนักของรถเข็นหรือไม่? ตอบ เมื่อมีผู้โดยสารที่เป็นเด็กเดินทางไปพร้อมกัน รถเข็นเด็กทุกขนาด ไม่ว่าจะพับใหญ่พับเล็ก ทั้งหนักและเบา สามารถนำขึ้นเครื่องบินได้ทั้งหมดโดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องขนาดและน้ำหนัก แต่รถเข็นต้องสามารถพับได้ (ซึ่งรถเข็นทุกรุ่นทุกแบรนด์ที่จำหน่ายในปัจจุบันพับได้ทุกคัน) 2. ขั้นตอนการนำรถเข็นขึ้นเครื่องบินแบบ Gate Check ? ตอบ เมื่อนำกระเป๋าขนาดใหญ่ Check in เพื่อโหลดใต้ท้องเครื่องให้แจ้งเจ้าหน้าที่สายการบินว่ามีรถเข็นเด็กมาด้วย และต้องการเข็นไปโหลดที่หน้าประตูเครื่องบิน (หรือเรียกว่า Gate Check) เจ้าหน้าที่จะนำ Tag (หรือป้ายติดกระเป๋า) ติดให้ที่รถเข็นเพื่อป้องกันการสูญหาย เราสามารถเข็นลูกน้อยผ่านพิธีการต่างๆ ไปจนถึงหน้าประตูเครื่องบินตรงจุดที่มีแอร์โฮสเตสยืนต้อนรับ ให้พับรถเข็นให้เรียบร้อย หลังจากนั้นจะมีเจ้าหน้าที่รอรับฝากรถเข็นเพื่อนำลงไปเก็บใต้เครื่อง (ในบางกรณีเจ้าหน้าที่จะจัดเตรียมถุงพลาสติกขนาดใหญ่คลุมให้อย่างดีเพื่อความสะอาดและปลอดภัย) ซึ่งเมื่อถึงที่หมายปลายทางเจ้าหน้าที่จะนำรถเข็นมาส่งคืนให้ที่หน้าประตูเครื่องบินเหมือนเดิม ในกรณีต่อเครื่อง (Transfer) ก็สามารถรับรถเข็นคืนได้ที่หน้าประตูเครื่องเช่นเดียวกัน 3. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับนำรถเข็นเดินทางขึ้นเครื่องบินหรือไม่ ตอบ ทุกสายการบินอนุญาติให้นำรถเข็นขึ้นเครื่องได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 4. ในกรณีที่รถเข็นมีขนาดเล็กและสามารถพับเก็บบนที่เก็บสัมภาระเหนือศีรษะ (Cabin) ได้ จะสามารถนำรถเข็นติดตัวขึ้นไปเก็บบน cabin ในเครื่องบินได้หรือไม่ ? ตอบ รถเข็นบางรุ่นสามารถพับและนำขึ้นเก็บบน Cabinได้ มีความเป็นไปได้ที่ทางสายการบินจะอนุญาติหรืออาจจะปฎิเสธไม่อนุญาติให้นำขึ้นไปเก็บบน Cabin […]

ปัจจุบัน คาร์ซีท (Car Seat) หรือ เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก ทั้ง คาร์ซีทแรกเกิด คาร์ซีทเด็กโต บูสเตอร์ซีท มีเกณฑ์การทดสอบความปลอดภัยต่างกันและผ่านมาตรฐานมาจากหลายประเทศ แต่ทราบหรือไม่ว่า คาร์ซีทในประเทศไทย มีประกาศจากกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) มาแล้ว ว่าคาร์ซีทจะต้องผลิตหรือนำเข้าเฉพาะคาร์ซีทที่ผ่านการทดสอบความปลอดภัยของยุโรปเท่านั้น  ทั้งนี้ ยังมีประกาศเพิ่มข้อบังคับให้คาร์ซีทต้องผ่านการทดสอบการชนจากด้านข้างด้วย ซึ่งตรงกับข้อบังคับของ มาตรฐานคาร์ซีท R129 (i-Size) เป็นมาตรฐานฉบับใหม่ที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกว่ามีความปลอดภัยสูงสุด  ก่อนคุณพ่อคุณแม่จะตัดสินใจเลือกซื้อคาร์ซีทให้ลูกรัก แต่ยังไม่ทราบรายละเอียดของ มาตรฐาน ECE R129 (i-Size) มาก่อน ว่าเพิ่มความปลอดภัยจุดไหนบ้าง เราจะพาไปทำความเข้าใจกันเลย  คาร์ซีทในประเทศไทย ใช้มาตรฐานใหม่ ECE R129 (i-Size)  จากเดิม ประกาศมาตรฐานความปลอดภัย (Safety Standards) ของคาร์ซีท จากกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) จะเริ่มบังคับใช้ภายในปี 2566 ให้ผู้ประกอบการที่ทำหรือนำเข้าคาร์ซีท ต้องทำหรือนำเข้าเฉพาะคาร์ซีทที่ผ่านการทดสอบความปลอดภัยตามเกณฑ์มาตรฐาน มอก.3418-2565 โดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานสากล ECE R44/04 (มาตรฐานยุโรป) ซึ่งเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศด้านความปลอดภัยที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก  ล่าสุด กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) […]

โยคะ ช่วยอะไรคุณแม่ได้บ้าง ชวนคุณแม่เริ่มฝึก 3 ท่าโยคะง่ายๆ ท่านอน  ท่าไหว้พระอาทิตย์ ท่าภูเขา คุณแม่คววรู้หลังทำโยคะคุณแม่ไม่ควรอาบน้ำ หรือทานอาหารทันที ควรพัก 30–60นาที เพื่อให้ร่างกายช่วงหลังคลอดมีโอกาสปรับตัว เมื่อคุณแม่แข็งแรงดีแล้ว ค่อยเปลี่ยนจากการทำโยคะมาออกกำลังกายแบบแอโรบิก ขอบคุณข้อมูลจาก : Morther&care

Q: ขวดนม อุปกรณ์ปั๊มนม ต้องต้ม หรือนึ่ง ให้ปราศจากเชื้อทุกวัน ? A: การนึ่ง หรือต้มฆ่าเชื้อขวดนมและจุกนมหลังใช้งานทุกวันจะทำให้ขวดนมพลาสติกและจุกนมเสื่อมสภาพเร็วขึ้นกว่าปกติ และไม่ได้ช่วยป้องกันโรคให้ทารกเพิ่มขึ้นมากไปกว่าล้างด้วยน้ำสบู่อุ่น ๆ หรือล้างด้วยน้ำร้อนผสมน้ำยาล้างขวดนมหลังใช้งาน การขยันทำให้ปลอดเชื้อมากเกินไป (over-sterilize) ไม่มีประโยชน์กลับเป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมให้เชื้อที่ทนความร้อน และสร้างสปอร์ได้เพิ่มมากขึ้น (เพราะคุณไม่ได้ใช้หม้อความดัน หรือฉายรังสี) และทารกจะอาจได้สารพวกโพลีเมอร์ หรือฟอร์มัลดีไฮด์ปนเปื้อนออกมาจากพลาสติกที่เสื่อมสภาพแทน  สมาคมกุมารแพทย์อเมริกัน และ USFDA แนะนำให้ต้มหรือนึ่งฆ่าเชื้อขวดนม และอุปกรณ์ปั๊มนมเฉพาะครั้งแรกที่ใช้งานจากนั้นให้ล้างด้วยน้ำสบู่ หรือน้ำยาล้างขวดนมผสมน้ำอุ่น ทุกครั้งหลังใช้งานก่อนผึ่งให้แห้ง โดยไม่ให้้ใช้ผ้าเช็ด กรณีที่ต้องต้มหรือนึ่งฆ่าเชื้อทุกวันคือช่วงทารกป่วย เช่น ท้องร่วง หรือ เป็นฝ้าขาวในปาก คุณแม่ที่กังวลอาจนึ่งหรือต้ม ทุก 3-4 วัน สำหรับนมชง ทุก 1 สัปดาห์สำหรับนมแม่ทั้งนี้ จะต้องไม่มีการปล่อยให้นมบูดคาขวด (ถ้านมบูดคาขวดต้องต้มหรือนึ่งฆ่าเชื้อใหม่เสมอ) อย่างไรก็ตามไม่มีกฎตายตัว หากบ้านมีสภาพแวดล้อมที่ไม่สะอาด อยู่ใกล้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค อาจพิจารณาต้มหรือนึ่งให้บ่อยขึ้น สำหรับประเทศไทยที่มีภูมิอากาศร้อนชื้นมีโรคเขตร้อนที่เป็นโรคทางเดินอาหารมาก และประชากรมีสุขอนามัยไม่แน่นอน กุมารแพทย์ไทยหลายท่านอาจแนะนำให้คุณแม่ต้มหรือนึ่งขวดนมทุกวัน และกรณีที่ห้องครัวมีความสกปรกอับชื้นท่อน้ำไม่สะอาด หรือมีกระบะทรายแมวในห้องครัว (ซึ่งไม่ควรมี) คุณแม่อาจเลี่ยงไปตากขวดนม และจุกนมที่อื่นที่มีอากาศถ่ายเทคุณแม่ที่ปั๊มนมห้ามใช้สบู่เหลวในห้องน้ำที่ทำงานล้างขวดนม หรือ […]

คุณแพรว เพชรแพรว อัครเตชวาทิน หรือแม่แพรว จากเพจ PRAEW ที่หลายคนรู้จักกันดีในบทบาทของ Influencer สายแม่และเด็ก ที่แชร์ประสบการณ์การเลี้ยงลูกเชิงบวกได้อย่างดี ซึ่งเราจะเห็นได้จากกน้อง เฌอลินน์ ลูกสาวคนโตที่โตขึ้นมาเป็นเด็กอารมณ์ดี มีความสามารถ ทำให้ใครหลายๆคนหลงกับความน่ารักของน้อง เฌอลินน์ ไปตามๆกัน และล่าสุดต้องขอแสดงความยินดีกับคุณแพรว กับการคลอดลูกคนที่ 2 ที่มีชื่อว่า เมอฌินน์ หรือฉายา เจ้าลูกชิ้น ลูกชายคนแรกของแม่แพรวด่วยค่ะ            และถ้าใครเคยตาม หรือเคยเข้าไปดูเพจ PRAEW จะรู้ว่า แม่แพรวจะ Post Content ให้ความรู้ แชร์ประสบการณ์การเลี้ยงลูกไว้เป็นจำนวนมาก และล่าสุด คุณแพรวก็ได้แชร์ประสบการณ์การใช้คาร์ซีทในวันแรกที่พาน้อง เมอฌินน์ ออกจากโรงพยาบาล วันนี้ทาง BabyGift ขอนำมาแชร์ต่อค่ะ พร้อมพามาดูกันว่า คาร์ซีทที่น้อง เมอฌินน์ ใช้คือคาร์ซีทรุ่นไหน  คุณแพรว ได้แชร์ไว้ว่า ทุกครั้งที่นั่งรถ แพรวต้องให้ลูกนั่งคาร์ซีททุกครั้งค่ะ เพราะสำหรับแพรวความปลอดภัยของลูกคือสิ่งที่สำคัญที่สุด สำหรับคาร์ซีทที่แพรวเลือกให้เมอคือ คาร์ซีท Ailebebe Kurutto ค่ะ อันนี้เป็นรุ่น 6 รุ่นใหม่ของเค้าค่ะ คุณแพรว ยังบอกอีกว่า ที่แพรวเลือกรุ่นนี้เพราะแพรวมั่นใจคือเรื่องความปลอดภัยของเค้าค่ะ เค้ามีเทคโนโลยีพิเศษที่เพิ่มความปลอดภัยที่ทำให้เมอปลอดภัยมากขึ้นเวลาที่นอนอยู่บนคาร์ซีท วัสดุดีมาก! มีมาตรฐานรองรับจากโรงงานประเทศญี่ปุ่นและความปลอดภัยระดับยุโรป เบาะก็ Support ดี สบาย ระบายอากาศได้ ไม่อึดอัดเลยค่ะ ปรับเอนนอนได้ นั่งทุกครั้งเมอฌินน์หลับปุ๋ยตลอด ติดตั้งง่ายด้วยระบบ Isofix ที่สำคัญที่มามี๊แฮปปี้ที่สุด […]

เตรียมตัวรับมือให้พร้อมกับการเป็นคุณแม่อย่างเต็มตัว กับ 14 วิธีรับมือลูกแรกเกิด ขอบคุณบทความดีๆ จาก คุณหมอ สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ

Menu
All Categories
All Brands
All Ages
Promotions
Locations
BabyGift Family
BabyGift Care
Parents Guide
News & Event

All Categories

All Categories
All Brands
All Ages